วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553

หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ตามมาตรา 59 ตรี

เลขเสร็จ

174/2534
เรื่อง
      บันทึก
        เรื่อง  หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                 ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                --------
เนื้อหา
    กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
     *(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497_
          มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
          การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
     *(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

          ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
          ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
          (1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
     *(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
     *(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย


กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
     *(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
          เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
          เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
                    ฯลฯ            ฯลฯ
     *(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528_
          มาตรา  58  ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
                                                                                               [มีต่อหน้าถัดไป]

          (2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
          บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
          (1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
          (2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
          (3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
                         ฯลฯ            ฯลฯ
     *(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
     *(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย

          ฝ่ายที่สองเห็นว่า
          (1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
          (2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
          กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
        คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
     *(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532)
  ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
          ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
                                                                                                   [มีต่อหน้าถัดไป]

มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
          ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
     *(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
     *(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
     *(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)

ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
.. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
          อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
          ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
     *(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
 
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่

                                           (ลงชื่อ) . ตันเต็มทรัพย์
                                                (นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
                                                      รองเลขาธิการฯ
                               ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการ
       มีนาคม 2534.
_ไพบูลย์ - คัด/ทาน__
 เลขเสร็จ

174/2534
เรื่อง
      บันทึก
        เรื่อง  หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                 ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                --------
เนื้อหา
    กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
     *(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497_
          มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
          การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
     *(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

          ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
          ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
          (1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
     *(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
     *(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย


กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
     *(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
          เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
          เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
                    ฯลฯ            ฯลฯ
     *(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528_
          มาตรา  58  ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
                                                                                               [มีต่อหน้าถัดไป]

          (2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
          บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
          (1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
          (2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
          (3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
                         ฯลฯ            ฯลฯ
     *(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
     *(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย

          ฝ่ายที่สองเห็นว่า
          (1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
          (2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
          กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
        คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
     *(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532)
  ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
          ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
                                                                                                   [มีต่อหน้าถัดไป]

มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
          ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
     *(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
     *(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
     *(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)

ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
.. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
          อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
          ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
     *(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
 
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่

                                           (ลงชื่อ) . ตันเต็มทรัพย์
                                                (นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
                                                      รองเลขาธิการฯ
                               ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการ
       มีนาคม 2534.
_ไพบูลย์ - คัด/ทาน__
 เลขเสร็จ

174/2534
เรื่อง
      บันทึก
        เรื่อง  หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                 ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                --------
เนื้อหา
    กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
     *(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497_
          มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
          การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
     *(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

          ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
          ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
          (1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
     *(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
     *(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย


กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
     *(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
          เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
          เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
                    ฯลฯ            ฯลฯ
     *(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528_
          มาตรา  58  ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
                                                                                               [มีต่อหน้าถัดไป]

          (2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
          บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
          (1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
          (2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
          (3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
                         ฯลฯ            ฯลฯ
     *(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
     *(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย

          ฝ่ายที่สองเห็นว่า
          (1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
          (2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
          กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
        คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
     *(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532)
  ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
          ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
                                                                                                   [มีต่อหน้าถัดไป]

มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
          ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
     *(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
     *(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
     *(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)

ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
.. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
          อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
          ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
     *(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
 
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่

                                           (ลงชื่อ) . ตันเต็มทรัพย์
                                                (นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
                                                      รองเลขาธิการฯ
                               ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการ
       มีนาคม 2534.
_ไพบูลย์ - คัด/ทาน__
 เลขเสร็จ

174/2534
เรื่อง
      บันทึก
        เรื่อง  หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                 ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                --------
เนื้อหา
    กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
     *(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497_
          มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
          การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
     *(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

          ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
          ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
          (1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
     *(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
     *(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย


กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
     *(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
          เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
          เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
                    ฯลฯ            ฯลฯ
     *(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528_
          มาตรา  58  ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
                                                                                               [มีต่อหน้าถัดไป]

          (2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
          บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
          (1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
          (2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
          (3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
                         ฯลฯ            ฯลฯ
     *(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
     *(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย

          ฝ่ายที่สองเห็นว่า
          (1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
          (2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
          กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
        คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
     *(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532)
  ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
          ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
                                                                                                   [มีต่อหน้าถัดไป]

มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
          ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
     *(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
     *(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
     *(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)

ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
.. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
          อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
          ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
     *(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
 
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่

                                           (ลงชื่อ) . ตันเต็มทรัพย์
                                                (นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
                                                      รองเลขาธิการฯ
                               ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการ
       มีนาคม 2534.
_ไพบูลย์ - คัด/ทาน__
 เลขเสร็จ

174/2534
เรื่อง
      บันทึก
        เรื่อง  หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                 ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                --------
เนื้อหา
    กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
     *(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497_
          มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
          การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
     *(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

          ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
          ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
          (1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
     *(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
     *(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ .. 2515_
          มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
          เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย


กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
     *(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
          เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
          เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
                    ฯลฯ            ฯลฯ
     *(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528_
          มาตรา  58  ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
                                                                                               [มีต่อหน้าถัดไป]

          (2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
          บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
          (1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
          (2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
          (3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
                         ฯลฯ            ฯลฯ
     *(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
     *(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) .. 2528
          มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย

          ฝ่ายที่สองเห็นว่า
          (1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
          (2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
          กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
        คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
     *(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532)
  ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
          ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
                                                                                                   [มีต่อหน้าถัดไป]

มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
          ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
     *(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
     *(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
     *(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)

ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
.. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
          อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
          ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
     *(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
 
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่

                                           (ลงชื่อ) . ตันเต็มทรัพย์
                                                (นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
                                                      รองเลขาธิการฯ
                               ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำนักงานคณะกรรมการ
       มีนาคม 2534.
_ไพบูลย์ - คัด/ทาน__

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น