วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

กฏกระทรวงฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)

กฏกระทรวงฉบับที่ ๔๓ (.๒๕๓๗)
ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .๒๔๙๗
หมวด 
หนังสือรับรองการทำประโยชน์

ข้อ ๑๑. เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดได้พิจารณาผลการตรวจพิสูจน์ที่ดินของคณะกรรมการตามข้อ ๑๐ (แล้ว ปรากฏว่าที่ดินนั้นไม่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหรือเขตที่ได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี หรือปรากฏว่าที่ดินนั้นอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หรือเขตที่ได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี แต่ผู้ขอได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมายมาก่อนวันที่ทางราชการกำหนดให้ที่ดินนั้นเป็นป่าสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหรือเขตที่ได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี และไม่มีผู้คัดค้านภายในกำหนดเวลาที่ประกาศตามข้อ๑๐ (2)
ข้อ ๑๐เมื่อได้พิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์แล้ว ปรากฏว่าได้มีการครอบครองและทำประโยชน์ตามสมควรแก่สภาพที่ดินในท้องถิ่น ตลอดจนสภาพของกิจการที่ได้ทำประโยชน์ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการดังนี้
(ประกาศการออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ให้ทราบมีกำหนดสามสิบวัน ประกาศนั้นให้ปิดไว้ในที่เปิดเผย  สำนักงานที่ดินท้องที่สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอหรือที่ว่าการกิ่งอำเภอท้องที่ ที่ทำการแขวงหรือที่ทำการกำนันท้องที่ และในบริเวณที่ดินนั้น แห่งละหนึ่งฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้  สำนักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับ
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งการให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาดำเนินการตามข้อ ๑๐ (๒)
ข้อ ๑๐. เมื่อได้พิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์แล้ว ปรากฏว่าได้มีการครอบครองและทำประโยชน์ตามสมควรแก่สภาพที่ดินในท้องถิ่น ตลอดจนสภาพของกิจการที่ได้ทำประโยชน์ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการดังนี้(ถ้าปรากฏว่าที่ดินนั้นไม่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหรือเขตที่ได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี และที่ดินนั้นไม่เป็นที่ดินซึ่งต้องห้ามมิให้ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามข้อ  และไม่มีผู้คัดค้านภายในกำหนดเวลาที่ประกาศตาม (ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ให้ได้
มาตรา ๖๐ ในการออกโฉนดที่ดินตามความในมาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ ถ้ามี ผู้โต้แย้งสิทธิกัน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือเจ้าพนักงานที่ดิน แล้วแต่กรณี มีอำนาจทำการสอบสวน เปรียบเทียบ ถ้าตกลงกันก็ให้ดำเนินการตามความตกลงนั้น แต่ถ้าไม่ตกลงกัน ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่หรือเจ้าพนักงานที่ดินเสนอเรื่องพร้อมทั้งความเห็นไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อ พิจารณาสั่งการ
เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งประการใดแล้ว ให้แจ้งแก่คู่กรณีทราบ และให้ฝ่ายที่ ไม่พอใจไปดำเนินการฟ้องหรือร้องต่อศาลภายในกำหนดหกสิบวันนับแต่วันทราบคำสั่ง
ในกรณีที่ได้ฟ้องหรือร้องต่อศาลแล้ว ให้รอเรื่องไว้จนกว่าศาลจะพิพากษาหรือ มีคำสั่งประการใด จึงให้ดำเนินการไปตามกรณี ถ้าไม่ฟ้องหรือร้องภายในกำหนด ก็ให้ดำเนินการ ไปตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่ง

ขั้นตอนการขอออกโฉนด

1. ชี้ระวางแผนที่
2. รับคำขอ สอบสวน ชำระเงินค่าธรรมเนียม
3. ฝ่ายรังวัดดำเนินการ นัดทำการรังวัด กำหนดตัวช่างรังวัด
4. ค้นหารายชื่อเจ้าของที่ดินข้างเคียง และพิมพ์หมายข้างเคียง
5. รับหมายแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง วางเงินมัดจำรังวัดรับหลักเขตที่ดิน
6. ช่างรังวัดออกไปทำการรังวัด พิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์ที่ดิน
7. คำนวณเนื้อที่ และเขียนรูปแผนที่โฉนดที่ดิน
8. เจ้าพนักงานที่ดินประกาศการแจกโฉนดที่ดิน 30 วัน
9. ประกาศแจกที่ดินให้ปิดในที่เปิดเผย สำนักงานที่ดินท้องที่ สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอท้องที่ ที่ทำการแขวงหรือที่ทำการกำนันท้องที่และในบริเวณที่ดินนั้นแห่งละหนึ่งฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ สำนักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับ
10. เสนอเรื่องขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีขอออกโฉนดที่ดินโดยมิได้แจ้งการครอบครอง หรือกรณีเนื้อที่เกิน 50 ไร่ ตามมาตรา 59 ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
11. ส่งเรื่องให้คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่ 43 ตรวจสอบกรณีที่ดินอยู่ในเขตป่าไม้
12. ประสานงานกับ ...หรือผู้ปกครองนิคมฯ กรณีที่ดินอยู่ในเขตปฏิรูปที่ดินฯ นิคมสร้างตนเอง หรือสหกรณ์นิคม
13. เสนอเจ้าพนักงานที่ดินลงนามออกโฉนดที่ดินให้แก่ผู้ขอและแจ้งเจ้าของที่ดินมารับโฉนดที่ดิน
14. แจกโฉนดที่ดินให้ผู้ขอ

ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒)

ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์


------------------
     อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐  แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน  ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ ) .. ๒๕๒๖  มาตรา ๕๘ ทวิ  
วรรคสี่  แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน  ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ ) .. ๒๕๒๘  และมาตรา ๕๙ ทวิ วรรคหนึ่ง  และมาตรา ๕๙ ตรี  
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ  ฉบับที่ ๙๖  ลงวันที่  
กุมภาพันธ์ .. ๒๕๑๕  คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้

ข้อ   ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 
๑๒ (.. ๒๕๓๒) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์"

ข้อ   ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ   ให้ยกเลิก
(ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ (.. ๒๕๑๕)  
ว่าด้วยหลักเกณฑ์  วิธีการ  และเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินและออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์
(ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ (.. ๒๕๑๕)  
ว่าด้วยหลักเกณฑ์  วิธีการ  และเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินและออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์
(ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ (.. ๒๕๒๔)  
ว่าด้วยหลักเกณฑ์  วิธีการ  และเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินและออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์

ข้อ   การออกโฉนดที่ดินให้กระทำได้ในบริเวณที่ดินที่ได้สร้างระวางแผนที่เพื่อ
การออกโฉนดที่ดินไว้แล้ว  ในบริเวณที่ดินนอกจากนี้ให้ออกเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์  
เว้นแต่อธิบดีกรมที่ดินเห็นเป็นการสมควร  ให้ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในบริเวณที่ดิน
ที่ได้สร้างระวางแผนที่ไว้แล้วไปพลางก่อนได้

                  หมวด
            การอนุมัติให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
                ตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสี่ และมาตรา ๕๙ ทวิ วรรคหนึ่ง
                แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

ข้อ   ผู้ว่าราชการจังหวัดจะอนุมัติให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์รายใดเกินห้าสิบไร่ได้ต่อเมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
ได้ตรวจสอบการทำประโยชน์แล้วปรากฏว่า
        (ผู้ครอบครองได้ทำประโยชน์หรืออำนวยการทำประโยชน์ในที่ดินนั้น
ด้วยตนเอง และ
        (สภาพการทำประโยชน์ในที่ดินนั้นเป็นหลักฐานมั่นคงและมีผลผลิต
อันเป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ

ข้อ   ในกรณีที่ปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำประโยชน์ต้องด้วยหลักเกณฑ์ตามข้อ  
เกินห้าสิบไร่  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งอนุมัติ
ในกรณีที่ปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำประโยชน์ต้องด้วยหลักเกณฑ์ตามข้อ   ไม่เกิน
ห้าสิบไร่  ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งไม่อนุมัติ  ในกรณีเช่นนี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ให้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้วตามกฎกระทรวง 
ฉบับที่ (.. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .
๒๔๙๗  แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่

ข้อ   พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ให้แก่บุคคลตามมาตรา ๕๙ ทวิ วรรคหนึ่ง  เป็นการเฉพาะรายได้  ถ้ามีความจำเป็นดังต่อไปนี้
(ที่ดินนั้นถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
(ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินจะโอนที่ดินนั้นให้แก่ทบวงการเมือง  
องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น
โดยพระราชบัญญัติ
(มีความจำเป็นอย่างอื่นโดยได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด

                  หมวด
                    การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
              ตามมาตรา ๕๙ ตรี  แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

ข้อ   ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า
ที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขต  และที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการแจ้งการ
ครอบครองตามมาตรา  แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. ๒๔๙๗  เชื่อได้
ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน  แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการ
ครอบครองดังกล่าว  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่า
จำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว  แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อนให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิ
ในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้องครบถ้วนทุกด้าน

ข้อ   การรับรองแนวเขตของผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงตามข้อ วรรคสอง 
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งเป็นหนังสือซึ่งมีข้อความด้วยว่า ถ้าผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงไม่มาหรือ
มาแต่ไม่ยอมลงชื่อรับรองแนวเขตโดยไม่คัดค้านการรังวัด  เมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันทำ
การรังวัด  พนักงานเจ้าหน้าที่จะได้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยไม่ต้อง
มีการรับรองแนวเขต  ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปยังผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงตามที่อยู่ที่
เคยติดต่อ  หรือตามที่อยู่ที่ผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงนั้นได้แจ้งเป็นหนังสือไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่  
เพื่อให้มารับรองแนวเขตหรือคัดค้านการรังวัดและให้อยู่ในบังคับแห่งเงื่อนไข  ดังต่อไปนี้
(ในกรณีที่ผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้รับหนังสือจากพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้มาระวังแนวเขตแล้ว  แต่ไม่มาหรือมาแต่ไม่ยอมลงชื่อรับรองแนวเขตโดยไม่คัดค้านการรังวัด  
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้ว  โดยไม่ต้องมีการรับรองแนวเขต  เมื่อพ้นกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันทำการ
รังวัด
(ในกรณีที่ไม่อาจติดต่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงให้มาระวังแนวเขต
ได้  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปิดประกาศแจ้งให้ผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงนั้นมาลงชื่อรับรองแนวเขต
หรือคัดค้านการรังวัดไว้ในที่เปิดเผย สำนักงานที่ดินจังหวัดหรือสำนักงานที่ดินสาขา  สำนักงาน
เขตหรือที่ว่าการอำเภอหรือกิ่งอำเภอ  ที่ทำการกำนัน  ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน  และบริเวณที่ดินของผู้
มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงแห่งละหนึ่งฉบับ ในกรณีที่ดินอยู่ในเขตเทศบาลให้ปิด  สำนักงานเทศ
บาลอีกหนึ่งฉบับด้วย ถ้าผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงไม่มาติดต่อหรือคัดค้านประการใดภายในสามสิบ
วันนับแต่วันปิดประกาศ  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว  โดยไม่ต้องมีการรับรองแนวเขต

ข้อ ๑๐  ในกรณีที่ที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้าง
ว่างเปล่าและระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่
ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์

ให้ไว้ วันที่ ตุลาคม .. ๒๕๓๒
  พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
        ประธานคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ

[รก.๒๕๓๒/๑๗๔/๗พ/๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๒]

พรพิมล/แก้ไข
.  ๒๕๔๕


กรรมการกฤษฎีกา ย่อ

กรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) 
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (.. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน [มีต่อหน้าถัดไป] มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน .. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12) ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย -[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)] การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย ที่ดิน .. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง ครบถ้วนทุกด้าน ปัญหาของเรื่องนี้ต้องใช้กรณีที่2ครับถึงจะถูกต้อง