วันอังคารที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553

๑.๑ เพื่อลดความเสียงตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีดีที อาจส่งผลกระทบต่อแผนงานโครงการภายใต้นโยบายทีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม โดยการตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี และข้อเสนอแนะให้แก่หน่วยงานที รับผิดชอบนําไปปฏิบัติเพือจัดการ กับความเสียงทีอาจส่งผลกระทบต่อนโยบายทีดิน ทรัพยากรธร รมชาติและสิงแวดล้อม อันเนืองมาจากการ ดําเนินการทีไม่สอดคล้องกันให้ลดลงในระดับทียอมรับได้

๑.๒ เพี่อให้มีความเชือมโยงสอดคล้อง และมีการบูรณาการแนวทางการดําเนินงาน ร่วมกันและผลักดันให้แผนงานโครงการภายใต้นโยบายทีดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการบูรณาการแนวทางการดําเนินงานร่วมกันและนําไปสู่ความสัมฤทธิผลของนโยบาย


วันที่ 30 มิถุนายน 2553

เรียน นางรังสี พันธุมจินดา
ผู้ตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรีเขต7
เรื่อง การร้องเรียนของประชาชนกรณีการขอออกโฉนด
ซึ้งผมได้นําเสนอเอกสารการร้องเรียน1ชุดให้ก่อนหน้านีี้เเล้ว
กระผม นายชวนะ เกียรติชวนะเสวี ในฐานะที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี ด้านเศรษฐกิจ ภาคประชาชน ติดภาระกิจที่กรุงเทพ จึงไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้จึงขอนําเสนอข้อมูลของประชาชนจังหวัดภูเก็ตส ซึ่งกระผมได้เปิดช่องทางให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเป็น 2 เเนวทาง คือ 1 ตู้ปณ88 2 ทาง email chawanak@gmail.com เเละเครือข่ายประชาชนในพี้นที่ หลังจากประเทศผ่านพ้นวิกฤติจากเหตุการณ์ในกรุงเทพมหานครทําให้ทั่วประเทศประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจรวมถึงจังหวัดภูเก็ตวันนี้นายกได้มีโครงการไทยเข้มเเข็งลงมาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับมาเหมือนเดิมเเละใช้เเนวทางการพัฒนาเเบบยั่งยืนลงมาในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวเเละการลงทุน ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ทั้งคนไทยเเละชาวต่างชาติ ที่เข้ามาลงทุนในพี้นที่จังหวัดภูเก็ต เป็นจํานวนมากในเเต่ละปีเเละปัญหาเรี่องที่ดินก็จะมีปัญหาทั้งเรี่องการบุกรุกที่สาธรณะเเละการออกเอกสารสิทธิ์ทําให้นักลงทุนที่สนใจจะมาลงทุน ไม่มั่นใจเเละได้ย้ายฐานการลงทุนไปประเทศอื่นทําให้ประเทศขาดรายได้เป็นจํานวนไม่น้อยเเละกระทบไปสู่ส่วนอี่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ้งเป็นปัญหาที่ต้องเเก้ไขให้เป็นเเนวทางเดียวกันเช่นกรณี นายจรัญ หนูพู่ ประชาชนที่เป็นชาวสวนที่เจอปัญหาการขอออกโฉนดที่ดินเฉพาะรายที่จริงเเล้วคือปัญหาเดียวกันทั้งประเทศ กระผมได้ศีกษาข้อร้องเรียน ของที่เเปลงนี้

บัญชีเอกสาร

1 คําขอออกโฉนด
2 สค1 เลขที่61 หมู่ที่ 6 ต ฉลอง
3 รายงานรังวัด( รว 3)
4 รูปเเผนที่ (รว 9) เอกสาร
5 บันทึกข้างเคียงเปลี่ยนเเปลง (ทด16)
6 บันทึกการตรวจพิสูจน์ที่ดิน
7 บันทึกเสนอของเจ้าหน้าที่/คําสั่ง จนท ภูเก็ต
8 หนังสือเเจ้งคําสั่งของจนทภูเก็ต
9 คําอุธรณ์ของนายจรัญหนูพู่
10 หนังสือพิจรณาอุธรณ์ของ ผวจ ภูเก็ต


เอกสารที่ผมได้รับ พอสรุปได้ดังนี้ เเละได้ส่งมอบให้ผู้ตรวจ

1 ประกาศครบ 30วันไม่มีผู้คัดค้าน
2 ที่สําคัญคณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43มีมติออกโฉนดให้ผู้ขอได้
3 ที่ดินข้างเคียงรับรองเเนวเขตครบทุกด้าน ทั้ง3ขั้นตอนที่กล่าวมาข้างต้นจะมีเจ้าพนักงานที่ดินมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนของกฎหมาย เเละกลับมามองคําสั่งของที่ดินจังหวัดภูเก็ตหลังจากผ่านขั้นตอนของกฎหมายที่กล่าวมา
ทั้ง3ขั้นตอนข้างต้น

หลังจากนั้น มีหนังสือจากที่ดิน จังหวัดภูเก็ต
มีความเห็นว่า ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 กําหนดให้ที่ดินด้านหนึ่งด้านใดจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่าเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินรายนี้ผู้ขอได้นําการรังวัดเกินระยะในสคมากเเละเดิมสคเเจ้งจดที่รกร้างว่างเปล่าถึงด้านตือด้านทิศเหนือ ทิศใต้ เเละทฺศตะวันตก จึงเป็นเหตุให้เนื้อที่เกินหลักฐานสค1เดิมมากด้วยเเละผู้ขอไม่ยินยอมให้เจ้าหน้าที่รังวัดกันระยะตามสค1 ฉะนั้น เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่พศจึงเห็นควรกันระยะตามสค1 เเละเเจ้งให้ผู้ขอทราบ เพื่อให้โอกาศอุธรณ์คําสั่งต่อไป

จากกรณีปัญหาที่จังหวัดสุราษฎ์ธานี
นําข้อเท็จจริงมาพิจรณาเป็นหลักในการพิจรณาออกโฉนด


เป็นการเพิ่มจากการรังวัดตามแนวเขตที่ดินซึ่งตามแนวเขตในหนังสือ ส.ค.1 ได้แสดงลักษณะผังที่ดินประกอบไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่การรังวัดเป็นโฉนดที่ดินต้องใช้วิธีการตรรกะ (การคำนวณกราฟ) ปักหมุดตามหลักเขต ฉะนั้นรูปที่ดินในโฉนดที่ออกมาจะเปลี่ยนไปตามแนวที่วัดได้และส่วนที่เพิ่มมา ต้องเป็นไปตามเขตที่ดินดังกล่าว ด้านนายจำลอง โพธิ์เพชร หัวหน้าสำนักงานที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย เปิดเผยว่า ที่ดินงอกกับที่ดินเพิ่มไม่เหมือนกัน ข้อเท็จจริงเป็นการเพิ่มจากการรังวัดตามแนวเขตที่ดิน ซึ่งตามแนวเขตในหนังสือ ส.ค.1 ได้แสดงลักษณะผังที่ดินประกอบไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่การรังวัดเป็นโฉนดที่ดินต้องใช้วิธีการตรรกะ (การคำนวณกราฟ) ปักหมุดตามหลักเขต ฉะนั้นรูปที่ดินในโฉนดที่ออกมาจะเปลี่ยนไปตามแนวที่วัดได้และส่วนที่เพิ่มมา ต้องเป็นไปตามเขตที่ดินดังกล่าว นายจำลองกล่าวว่า ไม่ใช่เรื่องแปลกที่การรังวัดโฉนดเป็นไปได้ทั้งเนื้อที่ลดหรือเพิ่มขึ้นจากเดิม แต่ต้องเป็นไปตามการรังวัดของเจ้าหน้าที่ และต้องได้รับคำยินยอมจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงเซ็นชื่อรับทราบยอมรับในแนวเขตดังกล่าว อย่าลืมว่าที่ดินบนเกาะสมุยมีราคาแพงคงไม่มีใครยอมให้คนอื่นมาบุกรุกกินเนื้อที่ของตนไปแน่ และหากเจ้าของที่ข้างเคียงไม่ยอมเซ็นชื่อก็ออกโฉนดให้ผู้ขอไม่ได้

จากกรณีปัญหา ที่ดินจังหวัดภูเก็ต 


จะพิจรณาระยะในสค1 เป็นหลักในการพิจรณาออกโฉนด
ถ้าระยะในสค1จดที่ว่างเปล่า จะไม่นําขั้นตอนที่ปฎิบัติของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับรองมาเเล้วมาใช้ในการออกโฉนด
1 ประกาศครบ 30วันไม่มีผู้คัดค้าน
2 ที่สําคัญคณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43มีมติออกโฉนดให้ผู้ขอได้
3 ที่ดินข้างเคียงรับรองเเนวเขตครบทุกด้าน
(ซึ้งตามกฎหมายในเมื่อข้างเคียงมิได้ใช้สิทธิ์คัดค้านนำชี้เขตหรือนำรังวัดหรือให้ถ้อยคำต่าง (ก็ต้องพิจารณาว่ามีกฏหมายหรือระเบียบให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการอย่างไรหรือไม่ซึ่งก็คือตามนัยดังกล่าว)







บันทึกข้อตกลง เอกสาร




ว่าด้วยความร่วมมือในการกำหนด
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการรังวัด สอบเขต แบ่งแยก รวมหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ระหว่าง กรมที่ดิน กับ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง
ลว. 25 ก.ย 50
ข้อ ๓ หนังสือสั่งการใดๆของกรมที่ดินและหน่วยงานของรัฐข้างต้นที่
ขัดหรือแย้งกับบันทึกข้อตกลงนี้เป็นอันยกเลิก
ข้อ ๔ ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงนี้
ให้กรมที่ดินร่วมกับ จังหวัดและหน่วยงานของรัฐข้างต้น
แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาร่วมกันให้ได้ข้อ
ยุติโดยเร็ว


















ตัวอย่าง



คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๔๑/๒๕๔๘ เอกสาร









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น